| |
| | รายได้จากการเพาะเลี้ยงไข่ผำสายพันธุ์"อาร์ไรซ่า" ในการรับประกันราคา 200 บาท ต่อกิโลกรัม สมาชิก ความเสี่ยง เป็น 0 !!! |
| เพาะเลี้ยงในบ่อบกที่ทางบริษัทจัดจำหน่ายในราคาพิเศษเฉพาะสมาชิก เพียง 3,500 บาท(ครบชุด)ขนาด 2X5 เมตร=10 ตารางเมตร ใส่แม่พันธุ์ไข่ผำ 1 ขีด (100 กรัม)ต่อตารางเมตร จะผลิตไข่ผำได้จำนวน 5-6.5 ขีด ต่อ 7 วัน (ประมาณครึ่งกิโลกรัม/7 วัน) แต่สมชิกเพาะเลี้ยง 10 ตารางเมตรก็เท่ากับ 6.5 กิโลกรัม ขายในราคาประกัน 200 บาท/กก.เท่ากับขีดละ 20 บาท ท่านจะมีรายได้ 1,300 บาทต่อการเก็บ1 ครั้ง 1 เดือนเก็บได้ 4 ครั้ง ท่านจะมีรายได้ 5,200 บาทต่อเดือน ดังนั้น เมื่อท่านลงทุนไป 3,500 บาท ก็จะถอนทุนคืนได้ในเดือนแรกแล้ว แถมยังมีกำไรเหลืออีก 1,700 บาท เดือนต่อไปก็จะเป็นกำไรตลอด (ผ้าใบปูบ่อจะมีความคงทนอยู่ได้ประมาณ 5 ปี จึงจำเป็นเปลี่ยน ส่วนโครงสร้าง พีวีซี นั้นอยู่ได้เป็น 10-20 ปี และทุกท่านที่สมัครเข้าร่วมโครงการ ในราคารับประกัน ก็หมดห่วงเรื่อง ราคาไข่ผำในอนาคตจะตกต่ำลง เมื่อมีคนเพาะเลี้ยงกันมากขึ้นก็จะล้นตลาด แต่เพราะบริษัทเราเป็นบริษัทแปลรูปไข่ผำ เพื่อการส่งออกเป็นหลัก ดังนั้นท่านจึงไม่ต้องกังวนว่าผลิตแล้วจะไม่มีที่ขาย หรือขายไม่ได้ราคา เพราะท่านมีประกันราคา จึงสบายหายห่วง | (ถ้าท่านเลี้ยง 10 บ่อ ก็ 52,000 บาท/เดือนแรก)
| ลงทุน 35,000 บาท เดือนเดียว! ก็คืนทุนหมด!!! |
ซื้อ - ขาย - เงิน - เหรียญ - ธนบัตรเก่า โบราณ ของทุกประเทศทั่วโลก | | | . | | 
 |
|
| | อยากเป็นเศรษฐี ต้องเป็นนายหน้า *หาเหรียญเก่า แบงค์เก่ามาขายเรา* รวยเร็ว รวยง่าย รวยเงียบๆ # ทักไลน์มา ถ้ามี !!! |
|
|
|
ข้อมูลธนบัตรแบบที่ 4 (โทมัส) ด้านหน้าเชิญพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เมื่อทรงพระเย เป็นภาพประธาน โดยมีภาพสถานที่สำคัญ ได้แก่ วัดพระสมุทรเจดีย์ พระปฐมเจดีย์ ป้อมมหากาฬ กับบรมบรรพต พระที่นั่งดุสิดาภิรมย์กับพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และพระปรางค์วัดอรุณราชวรารา เป็นภาพประกอบของธนบัตรแต่ละชนิดราคาตามลำดับ ด้านหลังเป็นภาพพระที่นั่งอนันตสมาคม มี 2 รุ่น รุ่นหนึ่ง พิมพ์ข้อความด้านหน้าธนบัตรว่า "รัฐบาลสยาม" รุ่นสอง เปลี่ยนเป็นคำว่า "รัฐบาลไทย" มี 5 ชนิดราคา ได้แก่ 1 บาท 5 บาท 10 บาท 20 บาท และ 1000 บาท พิมพ์ที่บริษัทโทมัส เดอ ลา รู จำกัด (THOMAS DE LA RUE & COMPANY LIMITED) ประเทศอังกฤษ เริ่มทยอยออกใช้เมื่อ พ.ศ. 2481 ในรัชกาลที่ 8 ข้อมูลธนบัตรแบบที่ 5 ด้านหน้าเชิญพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเมื่อทรงพระเยาว์เป็นภาพประธาน โดยมีลายเฟื่อง อุโบสถและวิหารวัดภูมินทร์ พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ประตูซุ้มยอดมงกุฎวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม และพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทกับพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท เป็นภาพประกอบของแต่ละชนิดราคา ด้านหลังเป็นภาพพระบรมมหาราชวัง ด้านวัดพระศรีรัตนศาสดาราม มี 7 ชนิดราคา ได้แก่ 50 สตางค์ 1 บาท 5 บาท 10 บาท 20 บาท 100 บาท และ 1000 บาท พิมพ์ที่โรงพิมพ์ธนบัตร กระทรวงการคลัง ของประเทศญี่ปุ่น เริ่มทยอยออกใช้เมื่อ พ.ศ. 2485 ข้อมูลธนบัตรแบบที่ 6 ด้านหน้าเชิญพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเมื่อทรงพระเยาว์เป็นภาพประธาน ด้านหลังเป็นภาพพระที่นั่งอนันตสมาคม มี 2 ชนิดราคา ได้แก่ 20 บาท และ 100 บาท พิมพ์ที่ กรมแผนที่ทหารบกและกรมอุทกศาสตร์ ใช้กระดาษที่ผลิตจากโรงงานกระดาษไทย จังหวัดกาญจนบุรี ชนิดราคา 20 บาท มีรูปแบบเหมือนกับธนบัตรแบบ 4 (โทมัส) ชนิดราคา 100 บาท มีรูปแบบเหมือนกับธนบัตรแบบ 4 (กรมแผนที่) เริ่มทยอยออกใช้เมื่อพ.ศ. 2488 ข้อมูลธนบัตรแบบที่ 7 ด้านหน้าเชิญพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเมื่อทรงพระเยเป็นภาพประธาน ด้านหลังเป็นภาพพระที่นั่งอนันตสมาคม พิมพ์ที่โรงพิมพ์เอกชนหลายแห่งที่มีผลงานระดับมาตรฐานในขณะนั้น โดยควบคุมดูแลการพิมพ์อย่าใกล้ชิด เนื่องจากเป็นช่วงปลายสงครามกระดาษและหมึกพิมพ์มีอยู่อย่างจำกัด คุณภาพและสีของธนบัตรจึงไม่ดีเท่าที่ควร มี 4 ชนิดราคา ได้แก่ 1 บาท 5 บาท 10 บาท และ 50 บาท เริ่มทยอยออกใช้เมื่อ พ.ศ. 2488 ข้อมูลธนบัตรแบบที่ 8 สั่งพิมพ์ในสมัยรัชกาลที่ 8 แต่ส่งเข้ามาถึงประเทศไทย เมื่อเดือนตุลาคม 2489 ซึ่งขณะนั้น พระบาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติแล้ว ด้านหน้าเชิญพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเมื่อทรงพระเยาว์เป็นภาพประธาน และภาพพระปฐมเจดีย์เป็นภาพประกอบ ด้านหลังเป็นภาพรัฐธรรมนูญประดิษฐานเหนือพานแว่นฟ้า มี 5 ชนิดราคา ได้แก่ 1 บาท 5 บาท 10 บาท 20 บาท และ 100 บาท เริ่มทยอยออกใช้เมื่อ พ.ศ. 2489 ในรัชกาลที่ 9 พิมพ์ที่โรงพิมพ์ธนบัตร กระทรวงการคลัง (Bureau of Engraving and Printing, Treasury Department) ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นผู้ทำแม่แบบแม่พิมพ์ธนบัตร และว่าจ้างให้บริษัท ทิวดอร์ เพรส จำกัด (Tudor Press Inc.) เป็นผู้พิมพ์ เมื่อสงครามยุติลงในเดือนสิงหาคม 2488 รัฐบาลไทยได้สั่งพิมพ์ธนบัตรไปยังบริษัท โทมัส เดอ ลา รู จำกัด อีกครั้ง แต่โรงพิมพ์ของบริษัทได้รับความเสียหายจากสงคราม ไม่สามารถพิมพ์ให้ได้ รัฐบาลไทยจึงติดต่อให้รัฐบาลสหรัฐอเมริกาจัดพิมพ์ธนบัตรให้ชั่วคราว อ้างอิงข้อมูลจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย |
|
| |
| |
|
|
| | | | | | | | | | | | | เว็บบอร์ดสนทนาเฉพาะสมาชิก |
|
| | | | | | | | | | | | | | | | | | | 
สอบถามไปรษณีย์ 1545 |
|
| | | | | | | | | | | |
|
|