ไม่มี ใครเก่ง เกินกรรม!!  ทำวันนี้ ให้ดีที่สุด  หยุดทำชั่ว ทั้งหลาย  ตั้งเป้าหมาย แล้วไปให้ถึง

Welcome to tsirichworld.com

ริชเวิลด์เน็ตเวิร์ค

รวยทั่วโลก

richworld

สืบค้น
 ทะเบียนพาณิชย์อีเลคทรอนิค เลขที่ 1101500003040
ได้รับอนุญาตจาก สคบ.แล้ว
       สมัครสมาชิก

   Member      สมาชิก เข้าระบบ

  ว่าง

กฎหมายพืช "กระท่อม"   

รายการส่งสินค้าวันนี้

 ชื่อ/สกุล ผู้ส่ง..........................

ชื่อ/สกุล ผู้รับ.......................

ว/ด/ป/เวลา/ที่ส่ง.....................

ทางไปรษณีย์/รหัสส่ง.............

ทางรถ.........ทะเบียน.................

ปลายทางที่่........................





สอบถามไปรษณีย์ 1545
 
    
 
 
 
 
 
 
 
 
 

Side Page

 สถิติวันนี้ 29 คน
 สถิติเมื่อวาน 29 คน
 สถิติเดือนนี้
สถิติปีนี้
สถิติทั้งหมด
59 คน
5430 คน
378746 คน
เริ่มเมื่อ 2009-01-11


สมุนไพรมหัสจรรย์"กระท่อม"ไทย ดังไกลทั่วโลก รักษาโรคได้หลายชนิด เช่นติดยาเสพติด โรคซึมเศร้า เบาหวาน แก้ปวดเมื่อย พาคินสัน และอื่นๆ รับสมัครสมาชิกเข้าระบบเครือข่าย ได้รับโบนัส 4 ชั้นลึก รับตัวแทนจำหน่าย ทั่วไทย และทั่วโลก สมัครก่อน ได้เป็นแม่ทีมต้นสายก่อนใครๆ *****Miracle Herbs "Khut" Thai worldwide Cure many kinds of diseases Such as drug addiction, depression, diabetes, pain relief, Parkinson's, etc. Recruit members to join the network, receive 4 deep bonuses. Recruit dealers all over Thailand and around the world. Apply first. Be a first-class mother. anyone

หน้าแรก

เกี่ยวกับเรา

ใบอนุญาต

ผลิตภัณฑ์

สั่งซื้อ


เช็คสายงาน

โปรโมชั่น

ข่าวสาร

ติดต่อเรา

   #ด่วน!!ฟรี!   

   สมัครเป็นสมาชิก 

แล้วได้อะไร? คลิก

 รับสมัครสมาชิก ฟรี!! ปลูกต้นกระท่อมทั่วไทยและทุกประเทศทั่วโลก เข้าระบบเคลือข่าย สมาชิกจะได้รับส่วนลดจากการซื้อสินค้าของบริษัทฯ 10-40% และได้รับสิทธิ์การประกันรับซื้อ"ใบกระท่อม"คืน ในราคา กิโลกรัมละ 200 บาท ยิ่งปลูกหลายต้น ก็ยิ่งมีรายได้มาก เริ่มปลูกเดี๋ยวนี้ เพื่อเป็นคนต้นๆ เพื่อมีรายได้ก่อนใครๆ เพราะกว่าต้นกระท่อมจะโตยังต้องใช้เวลาอีกหลายเดือนหรืออาจเป็นปี

สมัคร ฟรี!! (ปิดรับสมัครแล้ว รอรอบใหม่)


.


.


ทะเบียนพาณิชย์อีเลคทรอนิค/หนังสือ
ส.ค.บ./อ.ย./ฮาลาล/อาหารปลอดภัย และรูปผลิตภัณฑ์ 
แสดงไว้ในกรอบภาพเคลื่อนไหว

 

"ต้นกระท่อม"ต้นไม้มหัสจรรย์ รักษาได้หลายโรคโดยเฉพาะ

"โรคทรัพย์จาง" เก็บใบไปเปลี่ยนเป็นเงินได้ ทันที !


#คืนเงิน #ไม่มีข้อแม้

4 เดือนถ้าผมไม่ขึ้น

ช่วยคนหัวล้านมาแล้ว
มากกว่า 100,000 คน
อายุมากเท่าไร ผมก็ขึ้น
แม้แต่โรคกรรมพันธุ์

ผมก็ขึ้นใหม่ได้เต็มหัว

รีวิวผู้ใช้

 เฮอร์

เมตโต้

O&P

     

 

.
.
 
 ดูรายละเอียดเว็บไซต์

ผลิตภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช้ต่างๆ







พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558
เนื่องจากการทวงถามหนี้ต่อลูกหนี้ในปัจจุบันมีการกระทาที่ไม่เหมาะสมหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการใช้ถ้อยคาที่เป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลอย่างรุนแรง การคุกคามโดยขู่เข็ญ การใช้กาลังประทุษร้าย หรือการทาให้ลูกหนี้เสียชื่อเสียง การให้ข้อมูลเท็จการสร้างความเดือดร้อนราคาญให้แก่บุคคลอื่น เป็นต้น ดังนั้น ฉบับนี้ จึงขอนาเสนอกฎหมายใหม่ คือ “พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558” ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน 2558 เป็นต้นมา โดยขอสรุปสาระสาคัญ ดังนี้
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้
“ผู้ทวงถามหนี้” หมายความว่า เจ้าหนี้เป็นผู้ให้สินเชื่อ ผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค ผู้จัดให้มีการเล่นการพนันเป็นปกติธุระตามกฎหมายว่าด้วยการพนัน และเจ้าหนี้อื่นซึ่งมีสิทธิรับชาระหนี้อันเกิดจากการกระทาที่เป็นทางการค้าปกติหรือเป็นปกติธุระของเจ้าหนี้ ทั้งนี้ไม่ว่าหนี้ดังกล่าวจะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ก็ตาม และให้หมายความรวมถึง ผู้รับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ดังกล่าว ผู้รับมอบอานาจช่วงในการทวงถามหนี้ ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ และผู้รับมอบอานาจจากผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ด้วย
“ผู้ให้สินเชื่อ” หมายความว่า
(๑) บุคคลซึ่งให้สินเชื่อเป็นทางการค้าปกติ หรือ
(๒) บุคคลซึ่งรับซื้อหรือรับโอนสินเชื่อต่อไปทุกทอด
“สินเชื่อ” หมายความว่า สินเชื่อที่ให้แก่บุคคลธรรมดาโดยการให้กู้ยืมเงิน การให้บริการบัตรเครดิต
การให้เช่าซื้อ การให้เช่าแบบลิสซิ่ง และสินเชื่อในรูปแบบอื่นที่มีลักษณะทานองเดียวกัน
“ลูกหนี้” หมายความว่า ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา และให้หมายความรวมถึงผู้ค้าประกัน ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาด้วย
“ธุรกิจทวงถามหนี้” หมายความว่า การรับจ้างทวงถามหนี้ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมเป็นปกติธุระ
แต่ไม่รวมถึงการทวงถามหนี้ของทนายความซึ่งกระทาแทนลูกความของตน
มาตรา 5 “บุคคลใดจะประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ต้องจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ต่อนายทะเบียน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
บุคคลซึ่งจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามวรรคหนึ่งแล้ว ต้องประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการประกาศกาหนด”
ขอบเขตการใช้บังคับ
กฎหมายนี้กากับดูแลการทวงถามหนี้ทั้งในระบบและนอกระบบ โดยคุ้มครองเฉพาะลูกหนี้ ที่เป็นบุคคลธรรมดาเท่านั้น
ข้อปฏิบัติในการทวงถามหนี้
มาตรา 8 ห้ามผู้ทวงหนี้ติดต่อกับบุคคลอื่นซึ่งมิใช่ลูกหนี้เพื่อการทวงถามหนี้ เว้นแต่บุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการดังกล่าว
การติดต่อกับบุคคลอื่นนอกจากบุคคลตามวรรคหนึ่ง ให้กระทาได้เพื่อวัตถุประสงค์ในการสอบถามหรือยืนยันข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้เท่านั้น โดยผู้ทวงถามหนี้ต้องปฏิบัติดังต่อไปนี้
(1) แจ้งให้ทราบชื่อตัว ชื่อสกุล และแสดงเจตนาว่าต้องการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้
(2) ห้ามแจ้งถึงความเป็นหนี้ของลูกหนี้ เว้นแต่ในกรณีที่บุคคลอื่นนั้นเป็นสามี ภริยา บุพการี หรือผู้สืบสันดานของลูกหนี้ และบุคคลอื่นดังกล่าวได้สอบถามผู้ทวงถามหนี้ถึงสาเหตุของการติดต่อ ให้ผู้ทวงถามหนี้ชี้แจงข้อมูลเกี่ยวกับหนี้ได้เท่าที่จาเป็นและตามความเหมาะสม
ตัวอย่างเช่น โทรไปทวงหนี้กับที่ทางาน ว่า นาย ก. ที่ทางานอยู่ในบริษัทนี้ ได้เป็นหนี้กับทางบริษัทจานวน… เป็นต้น
(3) ห้ามใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บนซองจดหมาย ในหนังสือ หรือในสิ่งอื่นใดที่ใช้ในการติดต่อสอบถาม ซึ่งทาให้เข้าใจได้ว่าเป็นการติดต่อเพื่อทวงถามหนี้ของลูกหนี้
มาตรา 9 การทวงถามหนี้ ให้ผู้ทวงถามหนี้ปฏิบัติดังต่อไปนี้
(1) สถานที่ติดต่อ ในกรณีที่ติดต่อโดยบุคคลหรือทางไปรษณีย์ ให้ติดต่อตามสถานที่ที่ลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ได้แจ้งให้เป็นสถานที่ติดต่อ ในกรณีที่บุคคลดังกล่าวไม่ได้แจ้งไว้ล่วงหน้าหรือสถานที่ที่ได้แจ้งไว้ไม่สามารถติดต่อได้ โดยผู้ทวงถามหนี้ได้พยายามติดต่อตามสมควรแล้ว ให้ติดต่อตามภูมิลาเนา ถิ่นที่อยู่ หรือสถานที่ทางานของบุคคลดังกล่าว หรือสถานที่อื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
(2) เวลาในการติดต่อ การติดต่อโดยบุคคล โทรศัพท์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอื่น ในวันจันทร์ถึงวันศุกร์ ให้ติดต่อได้ตั้งแต่เวลา 08.00 นาฬิกา ถึงเวลา 20.00 นาฬิกาและ ในวันหยุดราชการ เวลา 08.00 นาฬิกา ถึงเวลา 18.00 นาฬิกา หากไม่สามารถติดต่อตามเวลาดังกล่าวได้หรือช่วงเวลาดังกล่าวไม่เหมาะสม ให้ติดต่อได้ในช่วงเวลาอื่นตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
(3) จานวนครั้งที่ติดต่อ ในช่วงเวลาตาม (2) ให้ติดต่อตามจานวนครั้งที่เหมาะสมและคณะกรรมการอาจประกาศกาหนดจานวนครั้งด้วยก็ได้
(4) ในกรณีที่เป็นผู้รับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ ผู้รับมอบอานาจช่วงในการทวงถามหนี้ ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ หรือผู้รับมอบอานาจจากผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ให้ผู้ทวงถามหนี้แจ้งให้ทราบถึงชื่อตัวและ ชื่อสกุล หรือชื่อหน่วยงานของตนและของเจ้าหนี้ และจานวนหนี้ และถ้าผู้รับมอบอานาจดังกล่าวทวงถามหนี้ต่อหน้า ให้แสดงหลักฐานการมอบอานาจให้ทวงถามหนี้ด้วย
มาตรา 11 ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะดังต่อไปนี้
(1) การข่มขู่ การใช้ความรุนแรง หรือการกระทาอื่นใดที่ทาให้เกิดความเสียหายแก่ร่างกาย ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของลูกหนี้หรือผู้อื่น
(2) การใช้วาจาหรือภาษาที่เป็นการดูหมิ่นลูกหนี้หรือผู้อื่น
(3) การแจ้งหรือเปิดเผยเกี่ยวกับความเป็นหนี้ของลูกหนี้ให้แก่ผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้
เว้นแต่เป็นกรณีตามมาตรา 8 วรรคสอง (2)
(4) การติดต่อลูกหนี้โดยไปรษณียบัตร เอกสารเปิดผนึก โทรสาร หรือสิ่งอื่นใดที่สื่อให้ทราบว่าเป็นการทวงถามหนี้อย่างชัดเจน เว้นแต่กรณีการบอกกล่าวบังคับจานองด้วยวิธีการประกาศหนังสือพิมพ์ซึ่งเจ้าหนี้ไม่สามารถติดต่อลูกหนี้โดยวิธีการอื่น หรือกรณีอื่นใดตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
(5) การใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บนซองจดหมายในการติดต่อลูกหนี้ที่ทาให้เข้าใจได้ว่าเป็นการติดต่อเพื่อการทวงถามหนี้ เว้นแต่ชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้ไม่ได้สื่อให้ทราบได้ว่าเป็นผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้
(6) การทวงถามหนี้ที่ไม่เหมาะสมในลักษณะอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
ตัวอย่างเช่น
 ใช้คำพูดหรือภาษาที่เป็นการดูหมิ่นลูกหนี้ เช่น พนักงานทวงหนี้พูดว่า เมื่อไรจะจ่ายคะ เลยกาหนดมานานแล้ว ถ้าไม่จ่ายภายในวันนี้ บริษัทจะดาเนินคดี กรณีนี้ ถือว่าเป็นการข่มขู่
 การติดต่อลูกหนี้โดยแสดงถึงการเป็นหนี้ของลูกหนี้อย่างชัดเจน เช่น การจ่าหน้าซองจดหมายโดยให้คนอื่นรู้อย่างชัดเจน
มาตรา 12 ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะที่เป็นเท็จ หรือทาให้เกิดความเข้าใจผิดดังต่อไปนี้
(1) การแสดงหรือการใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือเครื่องแบบที่ทาให้เข้าใจว่าเป็นการกระทาของศาล เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ
(2) การแสดงหรือมีข้อความที่ทาให้เชื่อว่าการทวงถามหนี้เป็นการกระทาโดยทนายความ สานักงานทนายความ หรือสานักงานกฎหมาย
(3) การแสดงหรือมีข้อความที่ทาให้เชื่อว่าจะถูกดาเนินคดี หรือจะถูกยึดหรืออายัดทรัพย์หรือเงินเดือน
(4) การติดต่อหรือการแสดงตนให้เชื่อว่าผู้ทวงถามหนี้ดาเนินการให้แก่บริษัทข้อมูลเครดิตหรือรับจ้างบริษัทข้อมูลเครดิต
ตัวอย่างเช่น ส่งมาโดยมีลักษณะเหมือนหมายศาล หรือข้อความว่าจะดาเนินคดี หรือบอกว่าถ้าไม่จ่าย จะถูกยึดบ้าน หักเงินเดือน เป็นต้น
มาตรา 13 ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่เป็นธรรม ดังต่อไปนี้
(1) การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายใดๆ เกินกว่าอัตราที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
(2) การเสนอหรือจูงใจให้ลูกหนี้ออกเช็คทั้งที่รู้อยู่ว่าลูกหนี้อยู่ในฐานะที่ไม่สามารถชาระหนี้ได้
บุคคลต้องห้ามในการทวงถามหนี้
มาตรา 14 “ห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ หรือทวงถามหนี้หรือสนับสนุนการทวงถามหนี้ซึ่งมิใช่ของตน เว้นแต่ในกรณีที่เป็นหนี้ของสามีภริยา บุพการี หรือผู้สืบสันดานของตน หรือในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นมีอานาจกระทาได้ตามกฎหมาย
เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างหรือผู้ปฏิบัติงานอื่นในกระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรมราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ”
ดังนั้น พนักงานบริษัทฯ ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ จึงไม่สามารถประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ หรือทวงถามหนี้หรือสนับสนุนการทวงถามหนี้ ตามมาตรา 14 ได้แต่อย่างใด !!!
โทษทางปกครอง
มาตรา 34 “ในกรณีที่ปรากฏแก่คณะกรรมการตามมาตรา 27 ว่าผู้ทวงถามหนี้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 8 วรรคสอง (1) หรือ (4) มาตรา 9 มาตรา 10 วรรคหนึ่ง มาตรา 11 (6) หรือมาตรา 13 (1) ให้คณะกรรมการตามมาตรา 27 มีอานาจสั่งให้ระงับการกระทาที่ฝ่าฝืนหรือปฏิบัติให้ถูกต้องหรือเหมาะสมภายในระยะเวลาที่กาหนด
หากผู้ทวงถามหนี้ไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการตามมาตรา 27 พิจารณามีคาสั่งลงโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท”
มาตรา 37 “ให้คณะกรรมการตามมาตรา 27 มีอานาจสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ได้ เมื่อปรากฏว่าผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้
(1) เคยถูกลงโทษปรับทางปกครองและถูกลงโทษซ้าอีกจากการกระทาความผิดอย่างเดียวกัน
(2) กระทาการอันเป็นการฝ่าฝืนบทบัญญัติที่มีโทษทางอาญาตามพระราชบัญญัตินี้”
โทษทางอาญา
มาตรา 39 “บุคคลใดที่ฝ่าฝืน มาตรา 5 มาตรา 6 วรรคหนึ่ง มาตรา 8 วรรคหนึ่ง วรรคสอง (2) หรือ (3) มาตรา 11 (2) (3) (4) หรือ (5) หรือมาตรา 13 (2) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ”
ตัวอย่างเช่น ประกอบธุรกิจโดยไม่จดทะเบียนต่อนายทะเบียน เปิดเผยเกี่ยวกับความเป็นหนี้ของลูกหนี้ให้แก่ผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ ใช้วาจาดูหมิ่น หรือจูงใจให้ลูกหนี้ออกเช็ค เป็นต้น
มาตรา 40 “บุคคลใดฝ่าฝืนมาตรา 12 (การทวงหนี้อันเป็นเท็จ) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 3 แสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ”
มาตรา 42 “เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 14 ต้องระวางโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 5 แสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ”
สรุป
พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 ฉบับนี้ ได้กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการติดตามทวงถามหนี้ที่มีมาตรฐานเดียวกันและมีบทลงโทษผู้ที่ฝ่าฝืนกฎหมายอย่างชัดเจน ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันมิให้พนักงาน (ในฐานะเจ้าหน้าที่ของรัฐ) อาจกระทาผิดตามกฎหมายฉบับนี้ ในกรณีของ “บุคคลต้องห้ามในการทวงถามหนี้” ตามมาตรา 14 “ห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ หรือทวงถามหนี้ หรือสนับสนุนการทวงถามหนี้ซึ่งมิใช่ของตน...” สายทรัพยากรบุคคลและกากับกิจกรรมองค์กร (DB/ WL-D/WL-P) จึงขอให้พนักงานรับทราบและปฏิบัติตามสาระสาคัญของพ.ร.บ.ฉบับนี้ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการประพฤติมิชอบของบริษัทฯ และเพื่อป้องกันมิให้พนักงานกระทาผิดกฎหมายที่อาจเกิดจากการกระทาที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์ด้วยนะ
กฎหมายทวงหนี้ (อัปเดตปี 2564) รวมเรื่องควรรู้สำหรับเจ้าหนี้-ลูกหนี้
เรื่องเงินๆ ทองๆ มักสร้างปัญหาวุ่นวายใจให้ใครหลายคน โดยเฉพาะเรื่องของการหยิบยืมเงิน ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายเจ้าหนี้ หรือลูกหนี้ก็ตาม หากฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่ชำระหนี้ตามกำหนดและตกลงผ่อนปรนกันไม่ได้ ก็จะเกิดการทวงหนี้ตามมานั่นเอง ซึ่งกฎระเบียบและรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับการทวงหนี้นั้น ถูกกำหนดไว้ในกฎหมายทวงหนี้ ถือเป็นเรื่องที่ทั้งลูกหนี้-เจ้าหนี้ ควรรู้ไว้
กฎหมายทวงหนี้ใหม่ 2564 (อัปเดตล่าสุด) ต้องทวงหนี้อย่างไรจึงจะไม่ผิดกฎหมาย?
การทวงหนี้ ไม่ได้หมายถึงการทวงหนี้ระหว่างบุคคลเท่านั้น แต่ยังรวมถึงหนี้อื่นๆ เช่น หนี้ธนาคาร หนี้บัตรเครดิต หนี้ผ่อนชำระรถยนต์ เงินกู้ ฯลฯ แม้กระทั่งการพนันก็ถือว่าเป็นหนี้รูปแบบหนึ่ง บ่อยครั้งที่เรามักเห็นข่าวการทวงหนี้ด้วยวิธีที่รุนแรงและไม่เป็นธรรม หรือในกรณีที่เราต้องการจะทวงหนี้ผู้อื่น และผู้อื่นจะมาทวงหนี้เรา จริงๆ แล้วจำเป็นต้องดำเนินไปตามหลักของกฎหมายทวงหนี้เพื่อไม่ให้ขัดต่อกฎหมาย โดยมีรายละเอียดต่างๆ ที่ควรรู้ไว้ ดังนี้
1. ความหมายของ "ลูกหนี้" และ "ผู้ทวงถามหนี้"
- ลูกหนี้ คือ ลูกหนี้ ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา และให้หมายความรวมถึงผู้ค้ำประกัน ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาด้วย
- ผู้ทวงถามหนี้ คือ เจ้าหนี้ซึ่งเป็นผู้ให้สินเชื่อ ผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค ผู้จัดให้มีการเล่นการพนันเป็นปกติธุระตามกฎหมายว่าด้วยการพนัน และเจ้าหนี้อื่นๆ ไม่ว่าหนี้ดังกล่าวจะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ก็ตาม
หมายเหตุ : ผู้ทวงถามหนี้ หรือเจ้าหนี้ ไม่จำเป็นต้องเป็นบุคคลเท่านั้น แต่ยังสามารถเป็นตัวแทนของนิติบุคคล ในนามของบริษัทสินเชื่อ, ประกัน, ธนาคาร และอื่นๆ ได้
2. ยืมเงินจำนวนเท่าไร จึงจะต้องทำหนังสือกู้ยืมเงิน?
ยืมเงินตั้งแต่ 2,000 บาทขึ้นไป สามารถทำหนังสือสัญญากู้ยืมได้ โดยจะต้องมีการลงลายมือชื่อทั้งเจ้าหนี้และลูกหนี้ ซึ่งหากผิดสัญญาชำระหนี้ ก็สามารถนำไปฟ้องร้องได้
3. ยืมเงินผ่านแชต ใช้เป็นหลักฐานฟ้องได้ไหม?
การทักขอยืมเงินผ่านแชต หรือแชตไลน์ สามารถนำมาใช้เป็นหลักฐานในการฟ้องร้องได้ แม้จะไม่ได้มีการทำหนังสือกู้ยืมเงิน เป็นลายลักษณ์อักษรก็ตาม
4. โทรศัพท์ไปทวงหนี้ แต่ลูกหนี้ไม่รับสาย ถือเป็นการทวงหนี้แล้วหรือยัง?
- หากผู้ทวงถามหนี้โทรศัพท์ไปหาลูกหนี้ แต่ลูกหนี้ไม่รับสาย หรือกดวางสายก่อนจะมีการพูดคุย = ไม่นับเป็นการทวงหนี้
- หากผู้ทวงถามหนี้โทรศัพท์ไปหาลูกหนี้ ลูกหนี้รับสาย แต่พูดคุยเรื่องอื่น ที่ไม่ใช่เรื่องการทวงหนี้ = ไม่นับเป็นการทวงหนี้
- หากผู้ทวงถามหนี้ทักไปสอบถามทางแชท แต่ลูกหนี้ยังไม่เปิดอ่าน = ไม่นับเป็นการทวงหนี้
- หากผู้ทวงถามหนี้ทักไปสอบถามทางแชท ลูกหนี้เปิดอ่านข้อความ แต่ไม่ตอบ = ถือเป็นการทวงหนี้แล้ว
5. ทวงหนี้ได้วันละกี่ครั้ง?
กฎหมายทวงหนี้ใหม่กำหนดให้เจ้าหนี้ สามารถทวงหนี้ได้ไม่เกินวันละ 1 ครั้ง หากฝ่าฝืนจะมีความผิด โดนโทษปรับสูงสุดไม่เกิน 100,000 บาท แต่ในกรณีที่เพื่อนยืมเงินเพื่อน ทวงเกินวันละ 1 ครั้ง ถือว่าไม่ผิด
6. "เวลาทวงถามหนี้" ควรทวงหนี้เวลาไหน จึงจะไม่ผิดกฎหมาย?
- วันจันทร์-ศุกร์ เวลาทวงหนี้ตั้งแต่ 08.00-20.00 น.
- วันเสาร์-อาทิตย์, วันหยุดราชการ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลาทวงหนี้ตั้งแต่ 08.00-18.00 น.
หมายเหตุ : หากเจ้าหนี้ฝ่าฝืนเวลาทวงหนี้ มีโทษปรับ 100,000 บาท และต้องทวงหนี้กับลูกหนี้เท่านั้น ห้ามไปทวงกับคนอื่น มิฉะนั้นจะมีจำคุก 1 ปี หรือปรับสูงสุดไม่เกิน 100,000 บาท
7. การทวงหนี้แบบใด ที่ห้ามทำโดยเด็ดขาด?
- ห้ามพูดจาดูหมิ่น
- ห้ามประจาน
- ห้ามข่มขู่
- ห้ามใช้ความรุนแรง
- ห้ามทำร้ายร่างกาย
- ห้ามทำลายทรัพย์สินของลูกหนี้ให้เกิดความเสียหาย
- ห้ามเปิดเผยเรื่องหนี้ของลูกหนี้ ต่อผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง
- ห้ามส่งเอกสารเปิดผนึกทางไปรษณีย์ ที่แสดงให้เห็นว่าเป็นการทวงถามหนี้อย่างชัดเจน
8. หากทวงถามหนี้อย่างไม่เป็นธรรม มีโทษอย่างไร?
ถ้าทวงถามหนี้โดยไม่เป็นไปตามขั้นตอนที่กฎหมายบัญญัติไว้ ฝ่ายลูกหนี้สามารถไปแจ้งความต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ และผู้ทวงถามหนี้จะมีโทษจำคุกไม่เกิน 1-5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000-500,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
กฎหมายทวงหนี้ เป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่างมาก เพื่อที่เราจะได้ไม่ถูกทวงหนี้อย่างไม่เป็นธรรม หรือในกรณีที่เราเป็นเจ้าหนี้เสียเอง ก็จะได้รู้รายละเอียดเวลาทวงหนี้และข้อห้ามต่างๆ ซึ่งเรื่องเหล่านี้นับเป็นกฎหมายพื้นฐานในชีวิตประจำวันที่เราควรรู้ไว้
 
    

   
 
เว็บบอร์ดสนทนาเฉพาะสมาชิก

 BTCTHB ชาร์และราคา

  
  

 

 

 

หน้าแรกขายตรงเดิม tsirichworld